THE 5-SECOND TRICK FOR วิกฤตคนจน

The 5-Second Trick For วิกฤตคนจน

The 5-Second Trick For วิกฤตคนจน

Blog Article

ระบบสวัสดิการสังคมและสาธารณสุข การพัฒนาอย่างทั่วถึง

ประการที่สาม ช่องว่างระหว่างสิ่งที่ภาคเอกชนควรทำ แต่ไม่ได้ทำ กล่าวคือ การขยายตัวของธุรกิจในประเทศไทยกระทำผ่านการควบรวมซื้อกิจการที่ไม่ได้เป็นการลงทุนและพัฒนานวัตกรรมใหม่ ดังนั้น เศรษฐกิจไทยจึงมีกำลังการผลิตเท่าเดิม เพียงแต่เปลี่ยนเจ้าของเท่านั้น จึงไม่มีนวัตกรรมหรือสินค้าใหม่ๆ ที่จะแข่งขันกับตลาดโลกในอนาคตได้

ถ้าคุณเข้าเกณฑ์นี้…คุณคือคนจน? เมื่อประเทศไทยใช้ตัวชี้วัด “ความจน” หลายรูปแบบ

ญัตติเสนอให้มีการสอบสวนนายปรีดี พนมยงค์ กรณีคอมมิวนิสต์

“แต่ชีวิตคนจนมันขึ้นอยู่กับพรุ่งนี้ไง มันต้องออกไปทำงานให้ได้ ไม่งั้นเราจะหาเงินที่ไหนมากิน มาใช้” วิมลบอกกับบีบีซีไทย

ซึ่งสะท้อนจากชั่วโมงการทำงานที่ปรับตัวลดลงอย่างต่อเนื่องตลอดทั้งปี

รูปแบบถัดมา คือ “การออมแบบผ่อนส่ง” ผ่านนายทุนนอกระบบ สจวร์ต กล่าวโดยสรุปว่า ในสภาพแวดล้อมที่อุปสงค์ของบริการเงินออมมีสูงกว่าอุปทานมาก ไม่น่าแปลกใจที่เงินกู้สำหรับคนจนจะเป็นแค่อีกวิธีในการแปลงเงินออมให้เป็นเงินก้อน “เงินกู้นอกระบบ” แบบนี้ นายทุนจะเป็นคนตัดสินใจด้วยการกำหนดมูลค่าของเงินกู้ หรืออย่างน้อยก็กำหนดเป็นมูลค่าสูงสุด รวมถึงตารางการผ่อนส่งเพื่อชำระหนี้ นั่นหมายถึงนายทุนจะเป็นผู้ประเมินความสามารถในการออมของลูกค้า

เพื่อความอยู่รอดของครอบครัวและลูกน้อง แม้ว่าจะต้องแลกกับคำสบประมาทจากคนทั่วไปและคนที่รู้จักที่ต้องมาขายแซนด์วิชข้างถนนจนบางครั้งต้องถูกเทศกิจเข้ามาไล่ อย่างไรก็ตาม เขาอดทนจนทำให้จะประสบความสำเร็จจนสามารถปลดหนี้สิ้นพันล้านบาท รวมทั้งพ้นสภาพการเป็นบุคคลล้มละลายในที่สุด

ในขณะที่โลกมีเทคโนโลยีด้านข้อมูลใหม่ๆ มากมาย จนทำให้เกิดข้อมูลท่วมท้นมหาศาล ปัญหานี้ควรต้องมีทางออก ในโลกวิชาการจึงมีพัฒนาวิธีการเก็บข้อมูลและวัดดัชนีประเมินตัวชี้วัดทางเศรษฐกิจและสังคมโดยเฉพาะอย่างยิ่ง ‘ความยากจน’ โดยอาศัยเทคโนโลยีการเก็บข้อมูลที่ก้าวออกไปจากกรอบเดิมๆ ทำให้มีทางเลือกในการติดตามสถานการณ์ความยากจนและชี้เป้ากลุ่มเป้าหมายที่ต้องการความช่วยเหลือได้ง่ายและรวดเร็วขึ้น  

โครงการก๊าซธรรมชาติของ ปตท.สผ. ในเมียนมา เชื่อมโยงกับรัฐบาลทหารอย่างไร ?

ความท้าทายหนึ่งของการต่อสู้กับปัญหาความยากจนคือ ‘การมีข้อมูลที่เพียงพอ’ เพื่อวัดความยากจน และการตามหาว่าใครคือ ‘คนจน’ ที่ต้องเข้าไปช่วยเหลือ 

การ “ลดความอยากจน” ของชาวชนบท ถือเป็นการป้องกันไม่ให้มีสาเหตุที่จะนำไปสู่การสนับสนุนขบวนการคอมมิวนิสต์ เสริมสร้างความมั่นคงของประเทศชาติ เนื่องจากคอมมิวนิสต์ถูกนับว่าเป็นภัยของชาติและสถาบันพระมหากษัตริย์ ฉะนั้น ความยากจนของผู้คนจึงเป็นกุญแจสำคัญหนึ่งในการต่อสู้กับภัยคอมมิวนิสต์ จนถูกยกให้เป็น “สงครามความยากจนของราษฎร”

มองอนาคต เครื่องบิน รถไฟ วิกฤตคนจน และรถขุดมหึมา พวกเขาจะผลักดันขีดจํากัดของพลังงานไฟฟ้าได้อย่างไร

ความยากจน-เหลื่อมล้ำของคนไทย ท่ามกลางโควิด “รุนแรง” ขนาดไหน?

Report this page